ข่าวและประกาศของเว็บ

ขอเชิญชวน ครู-อาจารย์ร่วมใช้งานระบบ LMS

by ตฤน ขันโคกกรวด -

งานศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา ได้จัดทำระบบ LMS เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ e-learning

จึงขอเรียนเชิญครู-อาจารย์ ที่สนใจจะใช้งาน สามารถติดต่อได้ที่งานศูนย์ข้อมูลฯ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

keyword:

e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
LMS ย่อมาจากคำว่า Learning Management System คือ เป็นการจัดระบบกระบวนการเรียนการสอน  ตั้งแต่เนื้อหา  การลงทะเบียน การเก็บข้อมูล การจัดกิจกรรม  การมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเช่น กระดานข่าว ห้องสนทนา อภิธานศัพท์ วิกิ  เป็นต้น ซึ่งจะมีส่วนของระบบฐานข้อมูล ที่สนับสนุนการจัดการเนื้อหาวิชา มีคลังข้อสอบ และระบบบริหารจัดการรายวิชา  โดยจะเอื้ออำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียน ผู้สอน และผู้ดูแลระบบ  โปรแกรมประเภทนี้อาทิ Moodle , Atutor , Learn Square , Caroline , WebCT


(แก้ไขโดย Admin User - จันทร์, 4 มกราคม 2021, 9:55AM)

(แก้ไขโดย Admin User - จันทร์, 4 มกราคม 2021, 9:55AM)



Available courses

แบบประเมินความรู้ความสามารถทั่วไป

ตำแหน่ง  ครูพิเศษสอน

ประเมินมาตรฐานวิชาชีพระดับ ปวช. สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์  สาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม

ประเมินมาตรฐานวิชาชีพระดับ ปวส. สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม

ประเมินมาตรฐานวิชาชีพระดับ ปวส. สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขางานเทคโนโลยีระบบโทรคมนาคม

ประเมินมาตรฐานวิชาชีพระดับ ปวส. สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์  สาขางานคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์

เพื่อพัฒนาความรู้ของครูผู้สอน ในสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม และคอมพิวเตอร์

อCางอิงมาตรฐาน - ผลลัพธ+การเรียนรูCระดับรายวิชา ออกแบบ การติดตั้ง และการควบคุมระบบอัตโนมัติของเทคโนโลยีพลังงานทดแทนอัจฉริยะ จุดประสงค+รายวิชา เพื่อใหC 1. เขCาใจหลักการใชCเทคโนโลยีพลังงานทดแทนอัจฉริยะ 2. มีทักษะการออกแบบและการควบคุมระบบการทํางานอัตโนมัติของเทคโนโลยีพลังงานทดแทน อัจฉริยะ 3. มีเจตคติที่ดีต$องานอาชีพ มีความคิดริเริ่มสรCางสรรค* รอบคอบ ปลอดภัย ซื่อสัตย*สุจริต มีระเบียบ วินัย ปฏิบัติตน ตามแบบแผน หรือขCอบังคับที่สอดคลCองกับมาตรฐานในการปฏิบัติที่ดีของคนในสังคม มีความ รับผิดชอบต$องานอาชีพ 4. มีการประยุกต*การใชCเทคโนโลยีพลังงานทดแทนอัจฉริยะและการออกแบบและการควบคุมระบบ การทํางานอัตโนมัติของเทคโนโลยีพลังงานทดแทนอัจฉริยะ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูCเกี่ยวกับการใชCเทคโนโลยีพลังงานทดแทนอัจฉริยะ 2. ออกแบบและการควบคุมระบบการทํางานอัตโนมัติ 3. วัด ทดสอบ ติดตั้ง ระบบการทํางานของอุปกรณ*ควบคุมพลังงานทดแทน 4. ซ$อม บํารุงรักษาอุปกรณ*ชนิดต$าง ๆ ที่ใชCในการควบคุมพลังงานทดแทน คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการกําเนิดพลังงาน พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย* พลังงานชีวมวลและ พลังงานทดแทนอื่น ๆ การใชCเทคโนโลยีออกแบบและการควบคุมระบบการทํางานอัตโนมัติ วงจรการทํางาน ของอุปกรณ*ชนิดต$าง ๆ ภายใตCอินเทอร*เน็ตของสรรพสิ่ง เพื่อปรับสภาวะของระบบการทํางาน การตรวจแกCไข และการบํารุงรักษาอุปกรณ*ดCวยการส$งสัญญาณบนระบบเครือข$ายเครื่องคอมพิวเตอร* รวมทั้งการบันทึกขCอมูล การทํางานของระบบพลังงานทดแทน การประยุกต*ใชCงานและตรวจสอบระบบการทํางา

         ศึกษาและปฏิบัติ การเลือกใช้และติดตั้งอุปกรณ์ Hardware และ Software ทดสอบคุณลักษณะทั่วไปและตรวจสอบความถูกต้องของอุปกรณ์ Hardware และ Software การออกแบบระบบเครือข่าย การติดต่อสื่อสารระหว่างไมโครคอมพิวเตอร์ในรูปแบบต่าง ๆ การส่งสัญญาณแบบแอนะลอกและดิจิตอล OSI Model, Protocol TCP/IP, LAN, Network Topology WAN, VLAN, VPN (Virtual Private Network), ATM(Asynchronous Transfer Mode), ISDN, ADSL, FDDI,มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลแบบต่าง ๆ เช่น IEEE802.X, IEEE Series, V Series, X Series etc. อุปกรณ์เน็ตเวิร์ก เช่น Hub, Switching Hub, Bridge, Router, Fiber Optics, Modem ฯ การติดตั้งเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การจัดระบบเครือข่าย การติดตั้งเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย การวิเคราะห์หาสาเหตุและการแก้ไขเมื่อระบบเครือข่ายขัดข้อง

คำอธิบายรายวิชา 

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างของภาษา องค์ประกอบของโปรแกรม คำสั่ง ตัวแปร โฟล ชาร์ต ฟังก์ชั่น โปรแกรมย่อย ส่วนประกอบของโปรแกรม วิเคราะห์ วางแผนและเขียนโปรแกรม ตรวจสอบ แก้ไขโปรแกรมและประยุกต์ใช้งานโดยเลือกใช้ภาษาซีหรือภาษาอื่น ๆ 

คำอธิบายรายวิชา(ปรับปรุง) 

งานความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์งานติดตั้งโปรแกรมพัฒนา ซอฟต์แวร์ภาษาซีงานชนิดข้อมูลและตัวแปร งานตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ งานตัวดำเนินการ เปรียบเทียบ งานตัวดำเนินการตรรกะและบิตข้อมูล งานการเลือกทำด้วยการกำหนดเงื่อนไขการ เลือกทำด้วย if งานการเลือกทำด้วยการกำหนดเงื่อนไขการเลือกทำด้วย if...else งานการเลือกทำ ด้วยการกำหนดเงื่อนไขการเลือกทำด้วย if...else if งานการเลือกทำด้วยการกำหนดเงื่อนไขการเลือก ทำด้วย switch งานการวนรอบทำซ้ำ (Loops) ด้วยคำสั่ง while งานการวนรอบทำซ้ำ (Loops) ด้วย คำสั่ง do...while งานการวนรอบทำซ้ำ (Loops) ด้วยคำสั่ง for งานการวนรอบทำซ้ำ (Loops) ที่ซ้อน กัน (Nested loop) งานฟังก์ชัน งานคลาสและออบเจ็กต์งานการควบคุมจอภาพและแป้นพิมพ์ งาน การประยุกต์ใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

         ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างสถาปัตยกรรมของไมโครคอนโทรลเลอร์ ลักษณะสัญญาณและกระบวนการทำงาน การรับ-ส่งข้อมูลกับอุปกรณ์เชื่อมต่อภายนอก ชุดคำสั่งและการเขียนโปรแกรม การวัดและทดสอบวงจรใช้งานของไมโครคอนโทรลเลอร์ การประยุกต์ใช้งานของไมโครคอนโทรลเลอร์

        ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ รูปร่างสัญญาณไฟฟ้า ค่าพารามิเตอร์ วงจรลดรูปสัญญาณ วงจรแปลงรูปสัญญาณ ดิฟเฟอร์เรนชิเอเตอร์  อินทิเกรเตอร์ คลิปเปอร์แคลมเปอร์ ทรานซิสเตอร์สวิตช์ สวิตต์ทริกเกอร์ มัลติไวเบอร์เตอร์ ฟลิปฟลอบแบบต่างๆ การกำเนิดสัญญาณ การซิงโครไนซ์และไดอะแกรมเวลา ประกอบและทดสอบวงจรต่างๆ ในงานพัลส์และสวิตชิง

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการวัด หน่วยของการวัดทางไฟฟ้า ความเที่ยงตรง และความแม่นยำในการวัด หลักการทำงานโครงสร้าง การขยายย่านวัด การตรวจซ่อมและบำรุงรักษามัลติมิเตอร์ วัตต์มิเตอร์ ฟรีเควนซีมิเตอร์ บริดจ์มิเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์มัลติมิเตอร์ ออสซิลโลสโคป การใช้ทรานสดิวเซอร์และเครื่องมือวัดอิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม

    ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับกฎของโอห์ม การต่อวงจรความต้านทาน วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าและกระแส วงจรบริดจ์ กฎของเคอร์ชอฟฟ์ เมชเคอร์เรนต์ โนดโวลเตจ ทฤษฎีของเทวินินนอร์ตัน และการส่งถ่ายกำลังไฟฟ้าสูงสุด หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ พารามิเตอร์ของรูปคลื่นไซน์ เฟสเซอร์ไดอะแกรม อิมพีแดนซ์ วงจร R-L-C แบบอนุกรมและขนาน วงจรเรโซแนนซ์ วงจรฟิลเตอร์ การใช้งานโวลท์มิเตอร์ โอห์มมิเตอร์ แอมมิเตอร์ มัลติมิเตอร์ เครื่องกำเนิดสัญญาณและออสซิลโลสโคป

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า กำลังไฟฟ้าและพลังงาน ไฟฟ้า การอ่านค่าตัวต้านทาน การต่อวงจรตัวต้านทานและเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม แบบขนานและแบบผสม การคำนวณหาค่าความต้านทาน กระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า โดยใช้กฎของโอห์ม วงจรแบ่งแรงดันและ กระแสไฟฟ้า วงจรบริดจ์กฎของเคอร์ชอฟฟ์ เมชเคอร์เรน ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน โนดโวลเตจ ทฤษฎีการวางซ้อน การส่งถ่ายกำลังไฟฟ้าสูงสุดในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง การประกอบวงจรและวัดหาความสัมพันธ์ของแรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและความต้านทานตามทฤษฎีวงจรไฟฟ้ากระแสตรง

        ศึกษาและปฏิปติงานเกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แหล่งกำเนิด ไฟฟ้า กฎของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง การควบคุมมอเตอร์เบื้องต้น อุปกรณ์ ป้องกันไฟฟ้าและการต่อสายดิน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ RLC หม้อแปลงไฟฟ้ารีเลย์ ไมโครโฟน ลำโพง อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ การบัดกรี การใช้มัลติมิเตอร์ เครื่องกำเนิดสัญญาณ ออสซิลโลสโคป การประกอบวงจรไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น